ดร.อรช กระแสอินทร์
ทำอย่างไร ให้อาคารดูเขียว (ตอนที่ 2)
ต่อจากครั้งที่แล้ว ดร.อรชได้นำเอาผลงานวิจัยเล็ก ๆ ที่ได้ทำแบบสอบถาม เพื่อถามคนทั่วไปว่าอะไรที่ทำให้คุณเข้าใจว่าอาคารที่คุณเห็นหรือเข้าไปอยู่นั้นเป็น อาคารเขียว โดยให้คุณสมบัติหรือส่วนประกอบของอาคารซึ่งถอดจากเงื่อนไขต่าง...
ทำอย่างไร ให้อาคารดูเขียว (ตอนที่ 1)
มีเรื่องหนึ่งที่ผมอยากจะนำมาเล่าให้ท่านผู้อ่านได้รับทราบกัน แต่ติดว่าต้องนำเสนอผลงานมีการประชุมวิชาการเสียก่อน ซึ่งหลังจากได้นำเสนอไปแล้วผมก็ขอนำงานวิจัยเล็ก ๆ ของผมมาถ่ายทอดให้แก่ท่านผู้อ่าน เผื่อมีประโยชน์ต่อการออกแบบของท่าน
โดยเมื่อราวเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ผมได้ทำการทดลองสำรวจผ่านอินเตอร์เน็ตโดยสอบถามประชาชนทั่วไปถึงสิ่งที่ทำให้เขารับรู้ได้ว่าอาคารที่เขาเข้าไปใช้งานหรือผ่านไปนั้น...
แก้เมืองร้อนด้วยพื้นเย็น หรือ เทคโนโลยี Cool Pavement
เมื่อตอนที่แล้วผมได้เขียนถึงหน้าร้อนที่ผ่านมาที่ถือว่าโหดมาก และส่วนหนึ่งก็เพราะเราสร้างพื้นผิวคอนกรีตในเมืองไว้มาก ซึ่งพื้นผิวเหล่านี้เป็นตัวการในการทำให้อากาศในเมืองที่ร้อนอยู่แล้วยิ่งร้อนมากขึ้นไปอีก ทั้งนี้เพราะวัสดุจะดูดซับความร้อนจากแสงอาทิตย์ และจะปล่อยออกมาเมื่อสะสมไว้ระดับหนึ่งรวมกันทั้งเมืองก็ทำให้เมืองร้อนไปหมดนั่นเอง
ผมจึงได้เสนอไปว่าน่าจะมีการเว้นที่ว่างบางส่วนของโครงการที่ไม่ได้ใช้ เว้นไว้ปลูกต้นไม้หรือปลูกหญ้าบ้าง เหลือเป็นพื้นดินธรรมชาติที่ความชื้นสามารถระเหยขึ้นมา...
ปรับพื้นแก้ร้อน ด้วยพื้นที่สีเขียว ลดปรากฏการณ์ Urban Heat Island
ช่วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคมที่ผ่านมา น่าจะเป็นช่วงเวลาที่สภาพอากาศร้อนที่สุดเท่าที่ผมได้เคยประสบมาในชีวิตของผม ประเทศในแถบนี้มีฤดูร้อนที่ร้อนมากก็จริงแต่ก็ไม่ได้ร้อนและแห้งมากขนาดนี้ บางวันอุณหภูมิสูงสุดทะลุไปถึง 44 องศาเซลเซียส ทำเอาแต่ละคนต้องดิ้นรนใช้ชีวิตให้ผ่านความร้อนในแต่ละวันไปกันเลยทีเดียว
แม้ว่าสภาพความร้อนที่ว่ามานั้น จะเป็นไปเพราะสภาวะโลกร้อน หรือภูมิอากาศที่ผิดปกติและแตกต่างจากธรรมชาติของย่านนี้หรืออะไรก็ตาม...
Biophilic Design (ตอนที่ 3)
ในช่วงเวลาที่ผมเขียนต้นฉบับนี้ มีเรื่องราวของการทำลายธรรมชาติการตัดต้นไม้ในเมือง การพยายามเข้าไปใช้พื้นที่อนุรักษ์เพื่อผลประโยชน์ต่างๆ ผมเองก็ไม่แน่ใจว่าจะถ่ายทอดความคิดรักษาสิ่งแวดล้อมไปสู่การปฏิบัติได้อย่างไร เพราะประเทศเรามีหน่วยงานองค์กรมากมายที่เหมือนจะทำหน้าที่ส่งเสริมสิ่งแวดล้อม สถาบันอาคารเขียวที่สร้างเกณฑ์อาคารเขียว กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม...
Biophilic Design (ตอนที่ 2)
จากครั้งที่แล้วที่ได้นำเอาเรื่อง Biophilic Design มาเล่าสู่กันฟังถึงที่มาของแนวคิดนี้ ในครั้งนี้ผมจะนำเอากรณีตัวอย่างที่น่าสนใจของแนวทางการออกแบบที่ผสานเข้ากับชีวิตต่าง ๆ ให้ท่านผู้อ่านเผื่อได้นำเอาไปใช้ในงานออกแบบกัน...
Biophilic Design (ตอนที่ 1)
ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2558) เป็นปีที่โลกร้อนที่สุดเป็นประวัติการณ์ มีสภาพอากาศแปรปรวน ฝนที่ตกน้อยมากจนเขื่อนและแม่น้ำแห้งขอด รวมถึงมีหน้าหนาว แต่ก็ร้อนไม่ต่างจากช่วงเวลาอื่น...