Project Review: Altitude สามย่าน-สีลม

โครงการ ALTITUDE สามย่าน-สีลม ตั้งอยู่บนทำเลศักยภาพอยู่ใจกลางเมืองสามย่าน-สีลม สามารถเลือกเส้นทางการเดินทางได้มากมาย สะดวกสบายทุกการเดินทาง เพราะห่างจากสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสามย่าน เพียง 200 เมตร และห่างเพียง 600 เมตร จาก BTS สถานีศาลาแดง, ทางด่วน, โรงเรียนสาธิตจุฬา, สวนลุมพินี และห่างเพียง 450 เมตร จากย่านธุรกิจสีลม ALTITUDE...

3 ยอดขุนพลอสังหาฯ จับมือปักทำเลทองกลางย่านธุรกิจ เปิดตัว ‘ALTITUDE สามย่าน-สีลม’

3 ยอดขุนพลอสังหาฯ รวมตัวกันจัดตั้ง บริษัท อัลเทอร์เนทีฟ แอสเซท จำกัด เดินหน้ารุกธุรกิจอสังหาฯ เปิดตัวคอนโดโครงการแรกใจกลางย่านธุรกิจ "ALTITUDE สามย่าน-สีลม" ภายใต้คอนเซ็ปต์ "ที่สุดสมดุลแห่งดีไซน์ของคอนโดมิเนียมใจกลางเมือง" มูลค่าโครงการกว่า 510 ล้านบาท รองรับดีมานด์ที่ขยายตัวต่อเนื่อง ย้ำจุดยืน "ไม่ใช่แค่ขายหมด แต่ต้องเป็นที่จดจำ" บริษัท อัลเทอร์เนทีฟ แอสเซท จำกัด เป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์หน้าใหม่...

มหันตภัยเงียบ ‘สารอินทรีย์ระเหยง่าย’ เราเลี่ยงได้ด้วยโครงการอาคารเขียว

0
สภาพสิ่งแวดล้อมในอาคาร หรือ Indoor Environmental Quality (IEQ) นับเป็นอีกหนึ่งหมวดพิจารณาของหลายข้อกำหนดและมาตรฐานอาคารเขียว (Green Building) ไม่ว่าจะเป็น LEED หรือ TREES และอื่นๆอีกมากมาย เนื่องจากสภาพสิ่งแวดล้อมในอาคารเป็นส่วนที่สัมผัสใกล้ชิดที่สุดต่อผู้ใช้อาคารและโดยตรง ในแง่ของสุขภาวะและความน่าสบาย ทั้งนี้ ในขั้นตอนกระบวนการของการก่อสร้างโครงการนั้น ประกอบด้วยสารเคมีต่างๆมากมาย อาทิ กาวและสารยึดติด (Adhesive) สารยาแนว (Sealant) สีทาภายในอาคาร...

การสูบบุหรี่กับโครงการอาคารเขียวตามมาตรฐาน LEED

0
โครงการอาคารเขียว ตามมาตรฐาน LEED มีข้อกำหนดซึ่งถือว่าเป็นข้อบังคับ สำหรับ Environmental Tobacco Smoke Control หรือ ETS Control เป็นอีกหนึ่งกลไกสำหรับการควบคุมพฤติกรรมการสูบบุรี่ของผู้ใช้อาคาร โดยพิจารณาถึงการควบคุมมิให้สารพิษจากควันบุหรี่มาส่งผลกระทบต่อร่างกายและสุขภาพของผู้ใช้อาคารรายอื่น ๆ ด้วย ในปัจจุบันพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของผู้ใช้อาคารนั้น นับว่าเป็นอันตรายและส่งผลเสียต่อร่างกาย ทั้งในส่วนของผู้สูบเอง และผู้ที่ได้รับควันบุหรี่ หรือ Second Smoker ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขในระดับโลก ทั้งยังส่งผลกระทบต่อการสิ้นเปลืองทางเศรษฐกิจ...

การส่งเสริมการทำคะแนนในหมวด Sustainable Site ของเกณฑ์ประเมินอาคารเขียว LEED

0
การส่งเสริมร่วมกันจากการเลือกทำคะแนน (Credit Synergies) คือ การเลือกทำข้อคะแนนที่สามารถส่งผลประโยชน์ต่อข้อคะแนนอื่น ๆ ในลักษณะที่มากกว่าการทำข้อคะแนนแยกกัน ซึ่งในบทความนี้ต้องการแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของการทำคะแนน และนำเสนอความสัมพันธ์ที่ส่งเสริมกันภายในหมวดหมู่ Sustainable Site หลักดังกล่าว อันได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างการเลือกใช้พื้นที่พัฒนาแล้ว การป้องกันการรุกรานธรรมชาติและระบบขนส่งมวลชน การเลือกใช้พื้นที่พัฒนาแล้วทำการก่อสร้างโครงการเป็นการป้องกันการรุกรานพื้นที่ทางธรรมชาติ รวมถึงป้องกันการขยายตัวของเมือง และความสามารถในการเข้าถึงของระบบขนส่งมวลชน ซึ่งลดการสร้างมลภาวะให้แก่สิ่งแวดล้อมจากการใช้รถยนต์ส่วนบุคคลที่เพิ่มขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างการฟื้นฟูปรับปรุงพื้นที่เสื่อมสภาพ สิทธิประโยชน์จากภาครัฐ และผลประโยชน์จากชุมชน ในบางประเทศหรือบางรัฐ การฟื้นฟูปรับปรุงพื้นที่เสื่อมสภาพเพื่อก่อสร้างโครงการ ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในพื้นที่ชุมชนหนาแน่นนั้นจะสามารถได้รับสิทธิประโยชน์จากทางภาครัฐเป็นเงินในการช่วยเหลือการก่อสร้าง หรือบางครั้งอาจเป็นสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี นอกจากนั้นยังส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาพื้นที่โดยรอบ ซึ่งเป็นพื้นที่ชุมชนหนาแน่นอยู่แล้ว...

โรงแรมที่ “กรีน” ที่สุดในอเมริกา จัดการด้านพลังงานทุกกระเบียดนิ้ว

โรงแรม Proximity ในเมืองกรีนส์โบโร รัฐนอร์ทแคโรไรนา สหรัฐอเมริกา ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย ในเรื่องของการให้ความสำคัญอย่างเคร่งครัด ในการประหยัดพลังงาน และการจัดการอย่างยั่งยืนเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผ่านการรับรองสูงสุด LEED Platinum จากสภาอาคารเขียวแห่งสหรัฐฯ จากการใช้พลังงานน้อยกว่าโรงแรมทั่วไปถึง 39.2% สำหรับมาตรการประหยัดพลังงาน สามารถพบได้ในทุกๆ พื้นที่ของโรงแรม ประกอบด้วยประการหลัก ๆ ดังนี้: 1. ติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ 100 แผง เพื่อใช้เป็นพลังงานสำหรับเครื่องทำน้ำอุ่น...

พื้นที่เปิดโล่ง (Open Space) และพื้นที่เปิดโล่งเชิงนิเวศ (Ecological Open Space) แตกต่างกันอย่างไร?

0
พื้นที่เปิดโล่ง (Open Space) และพื้นที่เปิดโล่งเชิงนิเวศ (Ecological Open Space) มีความแตกต่างกันอย่างไร? ตามเกณฑ์ของ TREES-NC Version 1.1 ได้ให้นิยามศัพท์ของพื้นที่ทั้งสองไว้ดังนี้ พื้นที่เปิดโล่ง (Open Space) หมายถึง พื้นที่ภายนอกโครงสร้างอาคาร โดยรวมทั้งพื้นที่ดาดแข็งและพื้นที่สีเขียว แต่ไม่นับรวมพื้นที่ฐานอาคาร ซึ่งจะแตกต่างกับพื้นที่เปิดโล่งเชิงนิเวศตรงที่นับรวมพื้นที่ของรถยนต์ทั้งหมด แต่จะแตกต่างกับนิยามของ ที่ว่าง ตามกฎหมาย เนื่องจากพื้นที่เปิดโล่งอาจมีหลังคาคลุมได้...

USGBC จัดอันดับ 10 ชาติผู้นำด้านอาคารเขียว (LEED) แห่งปี 2015

ปัจจุบัน มีประเทศที่ร่วมเกณฑ์การประเมิณอาคารเขียว LEED ในทุกทวีป มากกว่า 150 ประเทศทั่วโลก (ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา ในขั้วโลกใต้) โดยเกณฑ์การประเมิน LEED นี้ นิยมใช้กับกลุ่มชาติอุตสาหกรรมชั้นนำ และประเทศพัฒนาใหม่ ซึ่ง LEED จะช่วยประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้อม สำหรับการก่อสร้างและปรับปรุงโครงการใหม่ นับเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการจัดการด้านพลังงาน และใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า สภาอาคารเขียวแห่งสหรัฐฯ U.S. Green Building Council...

ท่องไปในเมืองแห่งอนาคตของ Panasonic Fujisawa Sustainable Smart Town

0
ชุมชนเมืองประกอบด้วยสภาพแวดล้อมที่มีผู้คนอยู่อาศัยร่วมกัน ถือเป็นแหล่งศูนย์รวมของการใช้ชีวิต สาธารณูปโภค และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ มากมาย อาทิ ที่อยู่อาศัย การคมนาคมขนส่ง อาหาร และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป็นต้น จากข้อมูลอ้างอิงการสำรวจโดยสหประชาชาติพบว่าในปืที่ผ่านมา 54% ของประชากรโลกอาศัยอยู่ในชุมชนเมืองเป็นหลัก และจำนวนประชากรที่อาศัยในเมืองใหญ่ทั่วโลกก็มีการเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อย ๆ โดยคาดการว่าจะมีการเพิ่มสูงขึ้นถึง 66% ภายในปีค.ศ.2050 ดังนั้นชุมชนเมืองจึงต้องสร้างความน่าอยู่ให้มากขึ้นตาม เพื่อตอบสนองคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้คนในอนาคตได้อย่างสมบูรณ์ ‘เมืองอัจฉริยะ’ (Smart City) และ...

สารเคลือบผิววัสดุทำจากกระจก ช่วยลดความร้อนภายในอาคารได้

0
นักวิจัยแห่งมหาวิทยาลัย Johns Hopkins ในสหรัฐอเมริกา ได้คิดค้นวิธีการที่ทำให้หลังคาเหล็กของอาคารเย็นลงและสามารถยืดอายุการใช้งานของโครงสร้างเหล็กทุกชนิดได้ ซึ่งก็คือการเคลือบผิววัตถุด้วยกระจกอนินทรีย์ (inorganic glass) แทนการใช้โพลิเมอร์แบบดั้งเดิมทั่วไป เนื่องจากสีส่วนใหญ่ที่เราใช้ ไม่ว่าจะเป็นสีรถหรือสีทาบ้าน ล้วนแต่มีตัวเชื่อมประสานเป็นโพลิเมอร์ ซึ่งมักจะเสื่อมลงเมื่อโดนรังสีอัลตราไวโอเลตจากแสงอาทิตย์ อีกทั้งยังปล่อยสารประกอบอินทรีย์ที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ทีมนักวิจัยจึงได้ปรับเปลี่ยนโพแทสเซี่ยมซิลิเคทให้กลายเป็นสารประกอบที่เมื่อสเปรย์ลงบนพื้นผิวแล้วยังคงความแข็งแรงและกันน้ำได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้อายุการใช้งานก็ยาวนานกว่าการใช้สีเคลือบอื่น ๆ ด้วย เนื่องจากมันไม่มีส่วนประกอบของสารอินทรีย์ใด ๆ สารเคลือบนี้จะถูกผสมกับสีขาวเพื่อสะท้อนแสงอาทิตย์กลับ ทำให้พื้นผิวมีอุณหภูมิคงที่หรือเย็นลง ส่งผลให้ภายในอาคารมีอุณหภูมิที่เย็นลงและลดการใช้เครื่องปรับอากาศน้อยลงด้วย ขณะนี้ทีมนักวิจัยกำลังพัฒนาสารเคลือบผิวชนิดนี้เพื่อใช้กับเรือของกองทัพเรือก่อน ซึ่งคาดว่าจะเริ่มทำการทดสอบในอีก 2...

ทั้งสวย ทั้งใหญ่! โครงสร้างสถาปัตย์ 3D Printing ในงาน Beijing Design Week 2015

ที่งาน Beijing Design Week 2015 ในกรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน บริษัท Laboratory for Creative Design (LCD) ออกแบบและก่อสร้าง Pavilion ด้วยเทคโนโลยี 3D Printing ที่มีความสวยงามทางด้านสถาปัตยกรรม ทั้งยังได้รับการขึ้นทะเบียนจาก กินเนสส์ เวิลด์ เรคคอร์ด ด้วยว่า...

Hawaii กับแนวคิดในการเก็บเกี่ยวพลังงานจากมหาสมุทร

0
Hawaii ถือเป็นอีกหนึ่งสถานที่ที่เริ่มพัฒนาแนวคิดใหม่ ๆ เกี่ยวกับพลังงานทางเลือก เหตุหนึ่งอาจเป็นเพราะมีความเป็นเกาะที่โดดเดี่ยวกลางทะเล จึงต้องพึ่งการนำพลังงานฟอสซิลเข้ามาใช้งาน และท่ามกลางแหล่งธรรมชาติของพลังงานธรรมชาติอย่างภูเขาไฟและพลังงานความร้อน ที่สะสมอยู่ในมหาสมุทร Hawaii ได้เริ่มวิสัยทัศน์เรื่องพลังงานโดยตั้งเป้าที่จะเป็นเกาะที่ใช้พลังงานทดแทน 100% ภายในปี 2045 รวมทั้งได้ดำเนินการติดตั้งระบบพลังงานจากลม ร่วมกับระบบ Grid ให้บริการพลังงานระบบ Solar Cell บนหลังคาบ้าน และระบบใหม่ล่าสุด ได้แก่ ระบบการถ่ายทอดพลังงานความร้อนของมหาสมุทรแบบปิด “First Fully...

‘อินเดีย’ มองการณ์ไกล! เดินหน้าเปลี่ยนใช้หลอด ‘LED’ 20 ล้านดวง ภายใน 2 ปี

กระทรวงพลังงานอินเดีย เผยความพยายามในการผลักดันนโยบายเพื่อสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเปลี่ยนหลอดไฟ ตามท้องถนน และบ้านเรือน จำนวน 20 ล้านดวง และแทนที่ด้วยหลอดประหยัดพลังงาน LED ให้ได้ในระยะเวลา 2 ปี ซึ่งหากสำเร็จลุล่วงตามที่ตั้งเป้าแล้ว คาดว่าจะสามารถลดค่าใช้จ่ายลงได้มากถึง 890 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 31,150 ล้านบาท) ต่อปี เมื่อต้นปีที่ผ่านมา รัฐบาลอินเดียประกาศแผน Domestic Efficient...

นักวิจัยพัฒนา ‘นาฬิกาอัจฉริยะ’ จดจำสิ่งของได้เพียงการสัมผัส

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยคาร์เนกี้เมลลอน ร่วมกับศูนย์วิจัยดิสนีย์ พัฒนา 'นาฬิกาอัจฉริยะ' ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ และแตกต่างไปจากนาฬิกาสมาร์ทวอตช์รุ่นอื่น ๆ ความพิเศษอยู่ที่การตรวจจับและจดจำสิ่งของได้อย่างน่าทึ่ง เพียงแค่ผู้สวมใส่สัมผัสวัตถุนั้น ๆ เพียงเท่านั้น ในแต่ละวัน เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้ากึ่งจักรกล มีการปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EM) ขณะเคลื่อนที่ สัญญาณดังกล่าว จะกระจายและส่งผ่านทางร่างกายมนุษย์ ทีมวิศวกรจึงดัดแปลงคลื่นขนาดเล็ก ราคาถูก ที่สามารถจำแนกแยกแยะ และจัดกลุ่มสัญญาณได้แบบเรียลไทม์ โดยสัญญาณนี้มีชื่อเรียกว่า "EM-Sense" ประโยชน์ที่คาดไม่ถึงของ...

ผลงานออกแบบที่น่าสนใจ ตามแนวคิด “Universal Design”

ปัจจุบันผู้คนต่างให้ความสนใจกับแนวคิดการออกแบบ “Universal Design” หรือ “การออกแบบเพื่อมวลชน” กันมากขึ้น เพื่อให้ “ทุกคน” ในสังคมสามารถเข้าถึงโอกาสและใช้ชีวิตในขั้นพื้นฐานกันอย่างเท่าเทียม เราจึงขอนำเสนอผลงานการออกแบบที่น่าสนใจตามแนวคิด “Universal Design” ที่ถูกคัดเลือกและเสนอชื่อใน “iF Universal Design Yearbook 2016” เพื่อเป็นไอเดียและเปิดมุมมองใหม่ ๆ ในการออกแบบให้กับบรรดาดีไซเนอร์ทั้งหลาย ผลงาน: LACE ออกแบบโดย: development: WITTUR...